https://www.facebook.com/share/p/qGtLse53JSbvN3VY/
大師父法語 隆補通 喜黎芒嘎瞜尊者
第十四冊
12. 應支持並護持善行
有一件我們視為應該做之事,就是讚揚並護持佛陀的教法 (Buddha-sāsana)。而我們的佛陀之教法 (Buddha-sāsana) ,包含佛法 (dhamma) 與律法 (vinaya) ,即佛陀之教誨與指導。所有於佛陀教法中出家受戒之各位,皆懷抱著相同的願望:希望佛陀的教法能持續穩固並興榮。 當我們希望讓教法穩固興盛穩固時,這就如同種樹一樣,我們如何才能夠讓樹木茁壯成長?正如我們必須澆水並滋養土壤,同樣地,佛陀之教法也需要加以支持與護持。
有關如何護持教法,有三大原則:
一、親身力行禪修
二、適時合宜教導他人
三、支持、護持行善者
這三項原則,願大家能夠深植於身心與生活中。
一、所謂透過親身力行之修行來支持、護持佛陀的教法,意指要自我提升,遵循社會的規範,這就是「戒律」(sīla)。
此外,我們應修習使有禪定之生起;應具有毗婆舍那智慧 (vipassanāñāna) ,親身修習毗婆舍那 (vipassanā)禪修。這是一種對自我之支持、護持,從而提升自我心靈。
二、當我們護持、提升自我後,如有任何機會讓他人能知曉與領悟,就應該引領他們。我們因緣際會於適當時機教導及培育他人時,這便是支持、護持佛陀教導之佛法 (dhamma) 與戒律 (vinaya)的實踐。這是第二項原則。
三、第三項原則指的是當他人行善時,我們應該給與鼓舞、打氣,應該支持。不論此人是什麼樣的人都好、無論他的過去或未來是如何都好,我們不去考量,我們只關注「當下之法」 (paccuppanna-dhamma,在此指當下之行為)。給與行善業的人鼓勵,並支持、護持,這樣之行善是我們自己的事,是我們自己之業行。這樣的原則,將使我們的社會成為宜居之地,使這個世界成為一個宜人、溫暖的世界 -- 將是
一個文明、安樂與進步之世界。
因此,禪修者應該知曉支持和護持佛陀教法的這些方法,願大家依照所提到之原則進行。此外,我們每日之禪修,也是為了支持與護持我們自己,使我們不斷提升。故此,願大家用心修行,千萬不可生起厭倦之心;願大家具備欲意(chanda)、精進(viriya),不斷努力繼續修行。接下來,我們將求懺過錯,隨後進行經行與坐禪。
泰譯中 : Santiyanee
🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷
Dhamma from Venerable Luang Phu Tong Sirimangalo Thera
Book 14.
12. Supporting and Upholding Good Deeds
One of the things we consider important is to support and uphold the teachings of the Buddha (Buddha-sāsana). The Buddha’s teachings comprise the Dhamma and Vinaya, which are the teachings and guidance of the Buddha. All of us who have ordained in the Buddha’s teachings do so with the desire that these teachings remain stable and flourish. If we want them to be stable and prosperous, it is like planting a tree; how do we make a tree grow and thrive? Just as we need to water and nurture the soil,
so too must we support and cultivate the Buddha’s teachings.
There are three main principles in encouraging and upholding them:
1. Practicing by oneself
2. Teaching others appropriately
3. Supporting those who do good
May these three principles be deeply ingrained in our minds and lives.
1. To encourage through personal practice means one must develop oneself by following societal rules, known as "sīla" (morality). Additionally, one must develop concentration and let inner concentration arise. Furthermore, one should cultivate sight wisdom (vipassanāñāna) , practice insight (vipassanā) meditation, thereby promoting one’s mental development.
2. Once we have uplifted ourselves, if there is an opportunity for others to learn and understand, we should guide them. We can instruct and train others at the appropriate time and occasion. When we guide others, this is how we support and uphold the Dhamma and Vinaya (the moral disciplines ), the teachings of the Buddha. This is the second principle.
3. The third principle is that when
others do good deeds, we should support and encourage them, regardless of who they are or what their past or future may hold. We do not dwell on those aspects but instead focus on the present condition (paccuppanna-dhamma, here meaning the present actions.) Encouraging and supporting those who do good deeds is part of our own actions and represents our own good kamma. This principle forsters our society a pleasant place to live, making this world livable and warm; —a civilized, peaceful, and progressive world.
Therefore, practitioners should understand how to uphold and support the teachings of the Buddha. May everyone follow the principles mentioned. Furthermore, our everyday practice supports us and helps to elevate ourselves. Hence, may everyone continue practicing with dedication, free from boredom or weariness. May you cultivate chanda (desire) and viriya (effort), persevering in your practice. Next, we will proceed in confessing wrongdoings, followed by walking meditation, and sitting meditation.
Thai to English translation by Santiyanee
🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷🪷
ธรรมะจากหลวงปู่ทอง สิรินงฺคโล
เล่ม 14
๑๒. ทำดีควรส่งเสริม
งานอันหนึ่งที่เราถือว่าควรกระทำนั้น คือ งานส่งเสริมพระพุทธศาสนา และพระพุทธศาสนาของเรานี้ก็ได้แก่ พระธรรม วินัย คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เราปรารถนากันทุกคนที่มาบวชในพระพุทธศาสนานี้ ก็เพื่อจะยังให้พระพุทธศาสนา มีความมั่งคง และเจริญรุ่งเรือง เมื่อเราต้องการให้มั่นคงและเจริญนั้น ก็เหมือนกับ เราปลูกต้นไม้ ทำอย่างไรที่จะให้ต้นไม้นั้นมีความเจริญ? เราก็จะต้อง รดน้ำและพรวนดินฉันใดก็ดี พระพุทธศาสนาของเราก็ต้องส่งเสริมกัน
การส่งเสริมนั้นตามหลักก็มีอยู่ ๓ อย่าง คือ
๑. ปฏิบัติด้วยตัวเอง
๒. สั่งสอนคนอื่นตามสมควร
๓. ส่งเสริมคนอื่นที่ทำดี
หลัก ๓ ประการนี้ ขอให้มีในขันธสันดาน ในชีวิตของเรา
๑. ที่ว่าส่งเสริมโดยการปฏิบัติด้วยตัวเองนั้น หมายความว่า ตัวเองต้องพัฒนาตัวเองด้วยการปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม เรียกว่า ศีล และเราก็จะต้องยังสมาธิให้เกิดมีในตน ต้องมีวิปัสสนาปัญญา เจริญวิปัสสนาสำหรับตน อันนี้เป็นการส่งเสริมตนให้มีความเจริญขึ้นในด้านจิตใจ
๒ .และเมื่อเราส่งเสริมตัวเองแล้ว มีโอกาสอันใดที่ต้องให้ คนอื่นได้รู้ได้เข้าใจ ให้เตือนคนนั้น เราก็มีการสั่งสอนและอบรมตามเวลาและโอกาส อันนี้เป็นการส่งเสริมพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า เป็นประกาย ๒
๓. สำหรับประการที่ ๓ นั้น ก็คือว่าคนอื่นที่ทำความดี เราต้องให้กำลังใจเขา เราต้องส่งเสริม ถึงแม้คนนั้นจะเป็นอย่างไรก็ตาม อดีตอนาคตของเขาจะเป็นอย่างไรก็ตาม เราไม่คำนึง เราคำนึงถึงปัจจุบันธรรม ทำความดีเป็นเรื่องของเรา เป็นเรื่องของกรรมของเรา ที่จะส่งเสริมคนที่เขาทำดีและให้กำลังใจเขา หลักอันนี้ จะทำให้สังคมนี้น่าอยู่ โลกนี้เป็นที่น่าอยู่ เป็นที่ความอบอุ่น โลกนี้จะศิวิไสช์และมีความเจริญ
เพราะฉะนั้น นักปฏิบัติควรรู้จักว่าการส่งเสริมพระพุทธศาสนานี้เป็นประการใด ขอให้ได้ตามหลักที่ได้กล่าวมา และการปฏิบัติในทุกวันนี้ ก็เพื่อส่งเสริมตัวเองให้สูงขึ้นไป จึงขอให้ท่านทั้งหลายตั้งใจปฏิบัติ อย่าได้มีความเบื่อหน่าย ขอให้มีฉันทะ วิริยะ ทำเรื่อยไป ต่อไปนี้จะได้มีการแสดง อาบัติ เดินจงกรมและนั่งสมาธิ ต่อไป
#大師父
#隆補通
#喜黎芒嘎瞜尊者
#善行
#佛法
#護持善行
#Verebale
#Luang Phu Tong
#Ajahn Tong
#Sirimangalo
# good deeds
#supporting
#Santiyanee
#หลวงปู่
#สิริมงคล
#ส่งเสริม
#ทำดี
留言列表