大師父開示
https://www.facebook.com/share/p/Jw1Fcut4TAZ1aYbt/
大師父 隆補通尊者之法語 十四冊
《第十七章:佛法如何對治顛倒妄見》
我們人類每一個人都一樣,必然存在各種「顛倒妄見」,正等正覺的佛陀將其稱為「性行缺陷」 (vikala-carita) 或是「法之顛倒」(vipallāsa dhamma)。其意思是,顛倒 (vipallāsa) 者將真實視為非真實、將不美視為美、將痛苦視為快樂、將無常視為常、將無我視為我,這些皆為顛倒 (vipallāsa)。對此,佛陀之教導是:具有背離真實之妄見。那麼,在這種情況下,我們應如何對治?
如果我們不理解,就會成為一個一輩子顛倒妄見的人。因此,這樣的顛倒妄見應如何對治呢?要治癒顛倒妄見、治癒性行缺陷 (vikala-carita)、治癒顛倒 (vipallāsa),就必須修行毗婆舍那四念處禪修 (satipaṭṭhāna)。毗婆舍那 (vipassanā) 意指如實知見——即如實知見於三法印 (tilakkhaṇa)。要如何能如實知見呢?要如實知見,必須具有四種方法,即:一、身 (kāya);二、受 (vedanā);三、心 (citta);四、法 (dhammā)。這四種方法在修行後,就會如實知見——明瞭彼真實是為苦、彼為不美、彼必會變化,且彼為不屬於我、不在我的掌控之中。一旦這樣明瞭,就可以說此人顛倒妄見治癒了。
要從顛倒妄見中治癒,我們必須修習毗婆舍那四念處禪修,才能徹底治好顛倒妄見。因為,身、受、心、法這四念處,能夠深入消除這種顛倒妄見。具體而言如下:
一、 我們覺照隨觀「身念處」(kāyānupassanā-satipaṭṭhāna)——覺照默唸腹部的起伏「膨譨」、「消譨」,以此來對治對美麗的執著、對治愛欲 (kāma) ——即對愛欲的慾望。
二、我們覺照隨觀「受念處」(vedanānupassanā-satipaṭṭhāna) ,以對治那些被我們誤認為「樂」的所緣 (ārammaṇa),即誤以眼、耳、鼻、舌、身、意等為美好的。
三、我們覺照隨觀「心念處」(cittānupassanā-satipaṭṭhāna),旨在破除對「常」之執著——「識」為無常 (viññāṇam aniccan)。此意味著,即便是識 (viññāṇa) 也是無常 (anicca),何來「常」呢?如果我們覺照默唸「想譨」「想譨」,那個「想」的念頭有好有壞,且時時刻刻都在變化。
四、我們覺照隨觀「法念處」(dhammānupassanā-satipaṭṭhāna),旨在對治對「我」的執著,事實上是「無我」(anattā)——沒有「我」,不受任何人之支配掌控。色、受、想、行、識皆不在任何人之控制下。既然不受任何人之支配掌控,其變化不斷是「常」還是「無常」(anicca)?——無常 (anicca) 、變化不斷是「苦」(dhukkha) 還是不苦?——為「苦」;如果無法控制,那是什麼?——就是無我 (anattā)。
因此,這樣的修行極為重要。一旦深入修行,此四種顛倒法 (vipallāsa dhamma) 便會從我們的心中平息,我們就一定能邁向道、果、涅槃。故此,為治癒顛倒妄見,務必精勤修習四念處 (satipaṭṭhāna),才必能在此生證悟、達至無上安樂。因此,請諸位即刻往前邁進、繼續精進修行。現在,我們先求懺悔過,然後就開始經行和打坐。
泰譯中:Santiyanee 20241016 於清邁
~~~~~~~~~~~~~~~~~
𝓓𝓱𝓪𝓶𝓶𝓪 𝓯𝓻𝓸𝓶 𝓛𝓾𝓪𝓷𝓰 𝓟𝓾 14
𝓒𝓱𝓪𝓹𝓽𝓮𝓻 17 𝓗𝓸𝔀 𝓓𝓸𝓮𝓼 𝓓𝓱𝓪𝓶𝓶𝓪 𝓒𝓾𝓻𝓮 𝓓𝓲𝓼𝓽𝓸𝓻𝓽𝓲𝓸𝓷𝓼?
All human beings inevitably possess various forms of distortions, which is the same for everyone. The Fully Enlightened Buddha referred to this as defective temperament (vikala-carita) or perversion in the dhamma (vipallāsa dhamma). This means that a person with perversion (vipallāsa) perceives what is true as untrue, perceives what is unattractive as attractive, perceives what is suffering as pleasurable, perceives what is impermanent as permanent, and perceives what is non-self as self. All of these are forms of perversion (vipallāsa) —the Buddha taught that these represent wrong views that deviate from reality. Under such circumstances, how should we rectify this?
If we do not understand, we will become those who possess distortions throughout our lives. Therefore, how should we rectify such distortions? To cure distortions, heal defective temperament (vikala-carita), and rehabilitate perversion (vipallāsa), we must practice insight meditation in the Four Foundations of Mindfulness (satipaṭṭhāna). Insight (vipassanā) means seeing clearly—seeing clearly in the Three Characteristics (tilakkhaṇa). How can we achieve this clear discernment? To attain this, we must apply four methods: 1. Body (kāya); 2. Feelings (vedanā); 3. Mind (citta); 4. Mind objects (dhammā). Once we have practiced in this way, we will clearly discern that all phenomena are truly suffering, unattractive, subject to change, do not belong to us, and are not under our control. When we realize this, we can say that the person has been cured of these distortions.
To be cured of distortions, we must practice insight meditation in the Four Foundations of Mindfulness. In this way, we can be completely healed from distortions because mindfulness on the four foundations—body, feelings, mind, and mental objects—will penetrate the mind and eliminate these distortions. Specifically:
1. We mindfully acknowledge the contemplation of the body by noting the movement of the abdomen (rising and falling) to rectify our attachment to beauty and overcome lust (kāma), which refers to the desire for sensual pleasures.
2. We mindfully acknowledge the contemplation of feelings (vedanānupassanā-satipaṭṭhāna) to rectify the mistaken happiness that arises from mistakenly perceiving the sense objects of eyes, ears, nose, tongue, body, and mind as good.
3. We mindfully acknowledge the contemplation of the mind (cittānupassanā-satipaṭṭhāna) to eliminate the belief in permanence—consciousness is impermanent (viññāṇam aniccan). It means that even consciousness (viññāṇa) is impermanent (anicca), so how could it possibly be permanent? When we mindfully note "thinking, thinking," the thoughts themselves will be both good and bad, constantly changing all the time.
4. We mindfully acknowledge the contemplation of the mind objects (dhammānupassanā-satipaṭṭhāna) to rectify attachment to the false belief in a self. In truth, it is anattā (non-self)—no entity of a self, and not under anyone's control. Forms, feelings, perceptions, mental formations, and consciousness are not subject to anyone's command. Since they are beyond anyone's control and constantly changing, are they permanent or impermanent? Impermanent. Is this constant change suffering (dhukkha) or pleasant? It is suffering (dhukkha). If they cannot be controlled, what are they? They are non-self (anattā).
Therefore, this practice is essential. Once we begin the practice, the four perversions (vipallāsa dhamma) will calm down and vanish from our minds, and we will surely attain the Path, the Fruition, and Nibbana. Thus, to cure these distortions, one must cultivate the Four Foundations of Mindfulness (satipaṭṭhāna). Only by doing so can one truly achieve boundless happiness in this life. Therefore, I urge you all to move forward and continue to practice diligently from this moment onwards. Now, we will first perform confession of any offenses, then proceed with walking meditation and sitting meditation.
Translated from Thai to English by Santiyanee
20241016 Chiangmai
~~~~~~~~~~~~~~~~~
ธรรมะจากหลวงปู่ ๑๔
๑๗. ธรรมะแก้ความบ้าอย่างไร
มนุษย์เราย่อมมีความเป็นบ้าร้อยแปดเหมือนกันทุกคน คือ เป็นบ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเรียกว่า วิกลจริต หรือ วิปลาสธรรม หมายความว่าเป็นคนที่วิปลาสเห็นสิ่งที่เป็นจริงว่าไม่จริง มองเห็นสิ่งที่ไม่งามว่างาม เห็นสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข สิ่งที่ไม่เที่ยง ว่าเที่ยง สิ่งที่ไม่มีตัวตนว่ามีตัวตน เหล่านี้ล้วนเป็นวิปลาส พระพุทธองค์ตรัสว่า มีความเห็นผิดจากความเป็นจริง เมื่อเป็นอย่างนี้เราจะแก้ไขอย่างไร
ถ้าหากว่าหมู่พวกเราไม่เข้าใจ ก็จะเป็นคนที่เป็นบ้าอยู่ตลอดชาติ เพราะฉะนั้นการจะแก้บ้านี้จะแก้อย่างไร ให้หายบ้า
หายวิกลจริต หายวิปลาส คือ จะต้อง เจริญวิปัสสนาในแนวสติปัฏฐานทั้ง ๔ วิปัสสนา แปลว่า ความเห็นแจ้ง เห็นแจ้งในพระไตรลักษณ์ จะเห็นแจ้งอย่างไร ที่จะเห็นแจ้งนั้นต้องมีกรรมวิธีอยู่ ๔ อย่าง คือ ๑.กาย ๒.เวทนา ๓.จิต ๔.ธรรม ทั้ง ๔ อย่างนี้ เมื่อปฏิบัติแล้วก็จะเห็นแจ้งว่าสิ่งนี้เป็นทุกข์จริงๆ สิ่งนี้เป็นของไม่งาม สิ่งนี้ย่อมแปรผัน สิ่งเป็นสิ่งที่ไม่ใช่ของเรา ไม่อยู่ในอำนาจของเรา เมื่อรู้ว่าอย่างนี้แล้ว ก็เรียกว่าคนนั้นหายจากบ้า
การที่จะหายจากบ้านั้น เราจะต้องปฏิบัติวิปัสสนาในแนวสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ จึงจะหายเป็นบ้า เพราะกาย เวทนา จิต ธรรม ทั้ง ๔ อย่างนี้จะเข้าไปลบล้างซึ่งความเป็นบ้า ดังนี้คือ
๑. เรากำหนด กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พองหนอ ยุบหนอ เพื่อจะไปแก้ซึ่งความ
งาม เพื่อจะไปแก้ กามะ คือความใคร่ ในกาม
๒. เรากำหนด เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เพื่อจะไปแก้ซึ่งความสุขที่เราเข้าใจว่าอารมณ์ทั้งดี คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ว่าเป็นของดี
๓. เรากำหนด จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็เพื่อจะทำลายซึ่งความเที่ยง วิญญาณังอนิจจัง คือ แม้แต่วิญญาณก็ไม่เที่ยง มันจะเที่ยงที่ไหน ถ้ากำหนดว่า คิดหนอ คิดหนอ ตัวคิดนั้นมันจะมีทั้งดีและไม่ดี และไม่ดี เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
๔. เรากำหนด ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อันนี้ก็เพื่อจะไปแก้เสียซึ่งความเข้าไปยึดไปถือว่า มีตัวตน แท้จริงแล้วเป็นอนัตตา ไม่มีตัวตน ไม่อยู่ในบังคับบัญชาของใคร รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไม่อยู่ในอำนาจของใคร เมื่อไม่อยู่ในอำนาจของใคร มันแปรปรวนว่าเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยง แปรปรวนเป็นทุกข์ หรือไม่ทุกข์ เป็นทุกข์ ถ้าบังคับไม่ได้เป็นอะไร เป็น อนัตตา
เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้จึงมีความสำคัญ เมื่อเข้าไปปฏิบัติ แล้ว ตัววิปลาสธรรมทั้ง ๔ ประการนี้ก็จะสงบไปจากจิตใจของเรา เราก็จะเข้าไปสู่มรรค ผล นิพพานอย่างแน่นอน ดังนั้นเพื่อหายจากความเป็นบ้า จงเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ จึงจะได้เข้าบรรลุถึงสุข อันไพบูลย์ ในชีวิตอย่างแน่นอน จึงขอให้ท่านทั้งหลายจงก้าวไป ปฏิบัติสืบต่อไป ณ บัดนี้ เราจะได้แสดงอาบัติก่อน แล้วก็เดินจงกรม นั่งสมาธิต่อไป
#佛法如何對治顛倒妄見
#𝓗𝓸𝔀 𝓓𝓸𝓮𝓼 𝓓𝓱𝓪𝓶𝓶𝓪 𝓒𝓾𝓻𝓮 𝓓𝓲𝓼𝓽𝓸𝓻𝓽𝓲𝓸𝓷𝓼
#ธรรมะแก้ความบ้าอย่างไร
#大師父 隆補通長老
#Ajahn Tong
#Luang Phu
#หลวงปู่ทอง
#Santiyanee
留言列表